Page 30 - คู่มือสวนบำบัด
P. 30

8.2) อาการ
เด็กสมองพิการมีอาการได้หลากหลาย ได้แก่
1. กล้ามเนื้อเกร็ง ตึง มีปฏิกิริยาสะท้อนกลับแรง (spasticity)
2. ขาดการประสานงานของกล้ามเนื้อเวลาเคลื่อนไหว (ataxia)
3. ท่าเดินจะถ่างขากว้าง ควบคุมการเคลื่อนไหวไม่ได้ โดยเฉพาะแขน ขา และมือ 4. แขนขาอ่อนแรง
5. เดินบนปลายนิ้วเท้า ขาหนีบไขว้กันแบบกรรไกร
6. น้าลายยืด กลืนลาบาก
7. พัฒนาการทางกายล่าช้า
8. การเขียนหรือใส่กระดุมเสื้อลาบาก
8.3) การรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ
สมองพกิ ารไมส่ ามารถรกั ษาใหห้ ายหรอื กลบั มาเปน็ ปกตไิ ด้ แตก่ ารรกั ษาจะชว่ ยพฒั นาศกั ยภาพของเดก็ ได้ โดยทวั่ ไปการรกั ษายงิ่ เรว็ เทา่ ไหร่ จะเพมิ่ โอกาสของเดก็ มากขนึ้ ในการมพี ฒั นาการทดี่ ขี นึ้ การกระตนุ้ พฒั นาการ ยา การผ่าตัด การฟื้นฟูสมรรถภาพ จะช่วยในการควบคุมกล้ามเนื้อได้ดีขึ้น การรักษา ได้แก่ กายภาพบาบัด กิจกรรมบาบัด การฝึกพูด ยาควบคุมการชัก
มูลนิธิเพื่อเด็กพิการได้นาการนวดไทยมาใช้กับเด็กสมองพิการ ทาให้การเกร็งของกล้ามเนื้อลดลง การฝึก การเคลื่อนไหวแบบญี่ปุ่น และการใช้สวนบาบัดเพื่อบาบัดเด็กสมองพิการ พบว่า มีผลในการกระตุ้นพัฒนาการ เด็กสมองพิการ การเคลื่อนไหว และการเรียนรู้อื่นๆ
การรกัษาและฟน้ืฟทูดี่ตีอ้งสามารถอยใู่นวถิชีวีติประจาวนัของเดก็และครอบครวั พอ่แมเ่ดก็สามารถใชก้บั ลูกหลานของตนเองได้
  22 คู่มือสวนบําบัด





















































































   28   29   30   31   32