Page 38 - คู่มือสวนบำบัด
P. 38

2. สถานการณ์ปัจจุบันของสังคมที่มีผู้พิการ
ในญี่ปุ่นมีผู้พิกํารทํางกํารเคลื่อนไหวหรือร่ํางกํายมํากที่สุดเป็นครึ่งหนึ่งของกลุ่มทั้งหมด (50.5%) พิกํารทํางกําร มองเห็น 310,000 คน (8.9%) พิกํารทํางกํารได้ยินและคําพูด 343,000 คน (9.8%) พิกํารทํางสุขภําพ 1,070,000 คน (30.7%) ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้สูงวัย โดยผู้สูงวัยจะมีอํายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป ซึ่งมีร้อยละ 60 ของประชํากรญี่ปุ่น ญี่ปุ่นมีกํารแบ่ง อํายุเด็กไม่เกิน 18 ปี หํากมีอํายุเกิน 18 ปีจะถือว่ําเป็นผู้ใหญ่ ประเทศไทยก็แบ่งอํายุเด็กอยู่ในช่วง 18 ปีเหมือนกัน
3. สถานการณ์ผู้สูงอายุ
ผู้พิกํารที่สูงวัย (อํายุ 65 ปีขึ้นไป) ในญี่ปุ่นมีจํานวนเพิ่มมํากขึ้น โดยมีหลํายเหตุผล ได้แก่ ชําวญี่ปุ่นไม่อยํากให้ใครรู้ ว่ําตนพิกําร ทําให้ได้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง ไม่มีกํารตรวจอย่ํางจริงจัง และคนญี่ปุ่นมีอํายุยืนขึ้น
ควํามก้ําวหน้ําทํางกํารแพทย์ ทําให้สถํานกํารณ์เปลี่ยนแปลงไป คนมีอํายุยืนจํากกํารแพทย์ที่ก้ําวหน้ํา ส่งผลให้เกิด สังคมผู้สูงอํายุ ปัจจุบันมีผู้ที่อํายุ 60 ปีขึ้นไปร้อยละ 60 ของชําวญี่ปุ่น
หมายเหตุ ประเทศไทยได้เข้ําสู่ “สังคมผู้สูงอํายุ” (Ageing Society) มําแล้ว โดยมีสัดส่วนคนอํายุ 60 ปีขึ้นไปถึง 10% ในปี พ.ศ. 2543 (ตํามนิยํามองค์กํารสหประชําชําติ) และกําลังเข้ําสู่ “สังคมผู้สูงอํายุอย่ํางสมบูรณ์” (Complete Aged Society) ในปี พ.ศ. 2564 โดย 1 ใน 5 ของประชํากรจะเป็นผู้สูงอํายุ และจะเป็น “สังคมสูงวัยระดับสุดยอด” (Super Aged Society) คือมํากถึง 30% ในปี พ.ศ. 25782
4. จานวนวันที่รับรักษาเป็นผู้ป่วยในของโรงพยาบาล
จํากข้อมูลของ OECD Health Data จํานวนวันที่รับรักษําเป็นผู้ป่วยในโรงพยําบําลประเทศญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2551 ลดลง 18-19 วันเมื่อเทียบกับปี พ.ศ. 2538 เนื่องจํากกํารอยู่รักษําตัวในโรงพยําบําลนําน ค่ํารักษํายิ่งสูง
หมายเหตุ ประเทศไทย จํานวนวันนอนเฉลี่ยของผู้ป่วยในสถํานพยําบําลของกระทรวงสําธํารณสุข ระหว่ําง พ.ศ. 2538-2552 อยู่ที่ 4.9-4.1 วัน ของโรงพยําบําลเอกชนอยู่ 4.0-3.1 วัน3
9. กระบวนการของพืชสวนบาบัด
พืชสวนบําบัดให้ควํามสําคัญกับกระบวนกําร
1. การวินิจฉัยและบ่งชี้ปัญหาโดยแพทย์นักบําบัดว่ําผู้รับบริกํารมีปัญหําและอํากํารอะไร
2. การจัดโปรแกรมการบาบัด ต้องดูสภําพร่ํางกําย กํารเคลื่อนไหว รวมไปถึงสภําพจิตใจ ดูมิติเชิงสังคมว่ําเด็ก ผู้ป่วย
ชอบอยู่คนเดียว หรือมีพ่อแม่ ผู้ปกครอง เพื่อน คนรู้จัก
3. การกาหนดเป้าหมายให้เหมําะสมกับเด็กผู้ป่วยและเข้ําสู่พืชสวนบําบัด
4. การประเมินผล เพื่อยืนยันกํารจัดโปรแกรมที่เรําจัดให้เด็ก ผู้ป่วย ว่ําได้ผลมํากน้อยเพียงใด ผลกํารประเมินมีทั้งได้ผล
ดี มีกํารเปลี่ยนแปลงพัฒนํากํารที่ดีขึ้น แต่หํากไม่ได้ผลก็ต้องมีกํารปรับแก้โปรแกรมอีกครั้ง
10. เอกลักษณ์พืชสวน
1. ให้ควํามสําคัญกับกระบวนกํารทุกขั้นตอน 2. มีควํามยืดหยุ่นหลํากหลํายรูปแบบ
3. ควํามสัมพันธ์3ประกํารของสวนบําบัด
2 http://www.dop.go.th/main/knowledge_lists.php?id=25 3 อ้ํางแล้วใน 1
    30 คู่มือสวนบําบัด













































































   36   37   38   39   40