Page 25 - คู่มือสวนบำบัด
P. 25

 3. กํารประเมินควํามพิกําร
การประเมนิ ความพกิ าร ไมไ่ ดป้ ระเมนิ เฉพาะดา้ นรา่ งกายอยา่ งเดยี ว ในกลมุ่ เดก็ หรอื กลมุ่ ผทู้ มี่ ปี ญั หาเรอ่ื งความสามารถ ซงึ่ทาใหไ้มส่ามารถออกสสู่งัคมได้กใ็ชเ้กณฑน์ใี้นการประเมนิความพกิารดว้ยเชน่กนั การประเมนิความพกิารประเภทตา่งๆมีดังนี้
1) ความพิการทางการเห็น
ในกรณีที่ไม่มีลูกตาก็สามารถระบุชัดเจนได้เลย แต่ถ้าไม่ใช่ต้องตรวจประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ ความพิการ ทางการเห็นไม่ครอบคลุมบุคคลเหล่านี้ ได้แก่ ตาบอดเพียง 1 ข้าง/ ตาบอดสี/ ตาเข ตาเหล่/ สายตาสั้น/ยาว เพราะฉะนั้นหากจะวินิจฉัยเพื่อรับสิทธิเกี่ยวกับความพิการจาเป็นจะต้องผ่านจักษุแพทย์เพื่อออกเอกสารรับรอง
การสังเกตเด็กกลุ่มนี้ดูจากการเคลื่อนไหวที่ช้าลง ปัญหาการทรงตัว การฝึกต้องเน้นเรื่องการทรงตัวมากขึ้น การสร้างความคุ้นเคยกับสิ่งแวดล้อมที่เด็กอยู่
2) ความพิการทางการได้ยินหรือการสื่อความหมาย 2.1) ความพิการทางการได้ยิน
1. ที่ต้องได้รับการตรวจวินิจฉัย ได้แก่ หูหนวก/หูตึง
2. ต้องพิจารณา 3 ประเด็น คือ การได้ยินเสียง การเข้าใจภาษาพูด การใช้ภาษาพูด
3. คนพกิ ารทางการไดย้ นิ ตามกฎหมาย จะไมค่ รอบคลมุ บคุ คลตอ่ ไปนี้ คอื หหู นวกเพยี ง 1 ขา้ ง / หตู งึ เพยี ง 1 ขา้ ง
2.2) ความพิการทางการสื่อความหมาย
1. มักจะเกิดร่วมกับความบกพร่องอื่นๆ โดยเฉพาะระบบทางประสาท เช่น ผู้ใหญ่ที่เป็นอัมพาตครึ่งซีก เด็กสมองพิการ ความพิการทางการสื่อความหมาย อาจจะเป็นการสื่อสารให้คนอื่นไม่ได้ หรือไม่เข้าใจ การสื่อสารจากคนอื่น ซึ่งเป็นผลมาจากการมีความบกพร่องทางการสื่อความหมาย เช่น พูดไม่ได้ พูดแล้ว ผู้อื่นไม่เข้าใจ ฟังคนอื่นพูดไม่เข้าใจ พูดไม่ชัด เป็นต้น
2. ครอบคลุม3ลักษณะดังนี้คือ - พูดไม่ได้
- พูดแล้วผู้อื่นฟังไม่เข้าใจ เช่น พูดไม่ชัด พูดไม่รู้เรื่อง พูดไม่คล่อง เป็นต้น
- ฟังคาพูดผู้อื่นไม่เข้าใจ
3. การทดสอบความสามารถทางภาษาและการพูดเป็นการทดสอบแบบคัดกรอง6ด้านได้แก่
3.1 ด้านการพูดเอง เช่น เรียก พ่อ แม่ สิ่งของต่างๆ 3.2 การเรียกชื่อคา
3.3 การพูดตาม
3.4 ด้านการฟังเข้าใจ คาพูด
3.5 ด้านการอ่าน 3.6 ด้านการเขียน
อายุ 18 เดือนยังไม่มีภาษาพูดอาจจะมีความบกพร่องทางการสื่อความหมาย จะต้องมีการ ตรวจสอบ ถ้าเป็นกลุ่มออทิสติก จะไม่จัดอยู่ในกลุ่มพิการประเภทนี้ แต่จะระบุเป็นความพิการประเภท 7 และกลุ่มสติปัญหาจะระบุเป็นความพิการประเภท 5
3) ความพิการการเคลื่อนไหวหรือทางร่างกาย ได้แก่ 1. แขน ขา ขาด
2. อัมพาต หรืออ่อนแรง
3. โรคข้อ และกลุ่มอาการปวด
4. โรคเรื้อรังของอวัยวะภายในอื่นๆ เช่น โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรังระยะสุดท้าย ทาให้คนไข้มีอาการเหนื่อยหอบ เวลาเคลื่อนไหว หัวใจโต ไตวาย
 คู่มือสวนบําบัด 17










































































   23   24   25   26   27