Page 10 - คู่มือสวนบำบัด
P. 10

นอกจากนี้ ยังได้รับความร่วมมือจากมูลนิธิเอ็มโอเอไทย และ มูลนิธิเอ็มโอเอญี่ปุ่น ในการส่งผู้เชี่ยวชาญด้านพืชสวน บาบัดจากประเทศญี่ปุ่นมาเป็นวิทยากรหลักในการอบรมความรู้หลักสูตรสวนบาบัดเบื้องต้นให้กับบุคลากรและครอบครัว เด็กพิการ
2. ควํามเป็นมําของสวนบําบัด
2.1 ประวัติและความเป็นมา
คาว่าสวนบาบัดจะตรงกับคาว่า Horticultural therapy (HT) ซึ่งหมายความถึง การทากิจกรรมต่างๆ
ทเี่ กยี่ วกบั พชื และสวนเพอื่ ใชใ้ นการบา บดั รกั ษาและฟน้ื ฟคู วามบกพรอ่ ง ความเจบ็ ปว่ ย ประโยชนใ์ นการบา บดั นนั้ ไดม้ ี การยอมรับและมีการบันทึกตั้งแต่สมัยโบราณ ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 Dr. Benjamin Rush ผู้ลงนามในคาประกาศ อสิ รภาพอเมรกิ า และไดร้ บั การยอมรบั วา่ เปน็ “บดิ าแหง่ จติ วทิ ยาอเมรกิ า” เปน็ บคุ คลแรกทเี่ ขยี นบนั ทกึ เกยี่ วกบั ผลดี ที่เกิดขึ้นจากการทาสวนในผู้ป่วยที่มีปัญหาทางจิต
ในทศวรรษของปี ค.ศ. 1940 และ 1950 การฟน้ื ฟทู หารผา่ นศกึ ในโรงพยาบาลไดย้ อมรบั และใชก้ ารทา สวนเปน็ สว่ นหนงึ่ ในการฟน้ื ฟู ทา ใหไ้ มจ่ า กดั ในการใชบ้ า บดั ผปู้ ว่ ยทางจติ เทา่ นนั้ การทา สวนบา บดั ไดป้ ระโยชนม์ ากมายอยา่ ง เหลอื เชอื่ และถกู นา มาใชใ้ นการวนิ จิ ฉยั และบา บดั มากขนึ้ ทกุ วนั นสี้ วนบา บดั ไดร้ บั การยอมรบั วา่ เปน็ วธิ กี ารบา บดั ทมี่ ี ประโยชนแ์ ละไดผ้ ล สวนบา บดั ถกู นา ไปใชอ้ ยา่ งกวา้ งขวางในชดุ กจิ กรรมของการฟน้ื ฟสู มรรถภาพ กจิ กรรมบา บดั และ กิจกรรมทางสังคม
ทฤษฎีที่เป็นที่รู้จักกันดีของสวนบาบัดคือ Ulrich’s Theory of Restorative Design โดย โรเจอร์ อูลริช (Roger Ulrich) ในปี ค.ศ. 1984 เขาไดท้ า การวจิ ยั ผปู้ ว่ ยทนี่ อนรกั ษาตวั อยใู่ นโรงพยาบาลวา่ การมสี วนในโรงพยาบาล หรือการได้เห็นสวนและต้นไม้สีเขียวจากห้องพักผู้ป่วยทาให้ผู้ป่วยรู้สึกอย่างไร จากผลการวิจัยพบผลดี 2 ข้อ คือ สามารถลดระยะเวลาการอยใู่ นโรงพยาบาลของผปู้ ว่ ย และสามารถลดการใชย้ ารกั ษาอาการเจบ็ ปว่ ยได้ จงึ เปน็ ทมี่ า ของความคิดว่า องค์ประกอบอะไรที่ทาให้สวนช่วยให้ผู้ป่วยใช้ระยะเวลาในการฟื้นฟูตัวเองลดน้อยลงและแข็งแรง กลับสู่สภาพเดิมได้เร็วขึ้น
2.2 คาว่า สวนบาบัด (Therapeutic Gardens)
ในไม่กี่ปีมานี้เราได้เห็นความนิยมและตื่นตัวเรื่องสวนบาบัด สวนบาบัดเหล่านี้ถูกออกแบบเป็นการเฉพาะให้มี กิจกรรมต่างๆ ที่ส่งเสริมการดูแลสุขภาพ การฟื้นฟูสมรรถภาพและการบาบัดรักษา ซึ่งมีการออกแบบภูมิสถาปัตย์ เพื่อให้สวนเป็นสวนสาหรับการบาบัด
สวนบาบัดเป็นการจัดสิ่งแวดล้อมที่มีพืชเป็นหลักโดยมีเป้าหมายเพื่อการกระตุ้นให้เกิดปฏิสัมพันธ์กับพลัง แห่งการเยียวยาจากธรรมชาติ การปฏิสัมพันธ์เป็นไปได้ทั้งการเป็นผู้กระทา (active) และผู้ถูกกระทา (passive) ทั้งนี้ขึ้นกับการออกแบบสวนและความต้องการของผู้ใช้สวน มีสวนบาบัดที่แยกย่อยไปอีก ได้แก่ สวนเยียวยา (healing gardens) สวนแห่งความสามารถ (enabling gardens) สวนฟื้นฟูสมรรถภาพ (rehabilitation gardens) สวนฟื้นคืนสภาพเดิม (restorative gardens)
  2 คู่มือสวนบําบัด
























































































   8   9   10   11   12