Page 59 - คู่มือสวนบำบัด
P. 59

ทสี่ ํา คญั เรําจะนํา มําจดั เปน็ โปรแกรมสวนบา บดั ไดอ้ ยา่ งไร เรําจํา เปน็ ตอ้ งเพมิ่ เนอื้ หําสว่ นทเี่ ปน็ สงิ่ สํา คญั ของ สวนบําบัดต่อไป เข้ําใจลักษณะพิเศษของเนื้อหากิจกรรมว่ํากิจกรรมนี้ต้องจัดที่ไหน ในห้องหรือนอกอําคําร ดูเวลําว่ําต้องใชร้ะยะเวลานํานหรือแค่สั้นๆก็สํามํารถทําได้กิจกรรมนี้ต้องทาคนเดียวหรือทาเป็นกลุ่มถึงจะดี ต้องเข้ําใจลักษณะของกิจกรรมด้วย รวมทั้งต้องรู้ว่ํากิจกรรมที่ทํานั้นมีความเสี่ยงในกํารทํากิจกรรมไหม เช่น กํารใช้กรรไกรมีควํามเสี่ยงกับกิจกรรมท่ีเรําจะทําหรือไม่ ผู้พิกํารบํางท่ํานไม่สํามํารถโดนแสงแดดได้ เนื่องจําก เปน็ ผลขํา้ งเคยี งจํากกํารใชย้ ําในกํารรกั ษํา ถํา้ โดนแดดอําจจะเกดิ ควํามเสยี่ งได้ เรําควรทํา กจิ กรรมกบั เดก็ กลมุ่ นี้ ภํายในอําคําร ดังนั้น เรําควรเข้ําใจกลุ่มเป้าหมายและเลือกกิจกรรมที่พร้อมและสอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย
3. เรียนรู้การเป็นผู้จัดกิจกรรมสวนบาบัดให้กับผู้รับบริการ
กํารจัดกิจกรรมสวนบําบัดจะต้องมีกํารวํางแผนอย่ํางเป็นระบบและขั้นตอน พืชสวนบําบัดไม่ใช่เพียงแค่ กํารจดั สวนหรอื ทํา งํานเกษตรแลว้ จะไดร้ บั ผลในเชงิ บํา บดั พชื สวนบํา บดั ไมไ่ ดม้ วี ตั ถปุ ระสงคใ์ นกํารปลกู พชื ใหเ้ กง่ หรือเพื่อเก็บผลผลิต
กระบวนการ/ขั้นตอนการจัดกิจกรรมพืชสวนบาบัด มีดังนี้
1) การประเมินก่อนการบาบัด (สภาพความพิการ ปัญหา ความต้องการของผู้รับบริการ)
ถ้ําไม่มีกํารจัดกิจกรรมแบบนี้ก็จะเป็นเพียงแค่กํารจัดสวนเฉยๆ
ผู้รับบริกํารหรือผู้พิกํารควรได้รับกํารวินิจฉัยจํากแพทย์หรือบุคลํากรด้ํานควํามพิกํารเพื่อรู้ว่ําผู้รับ บริกํารมีปัญหําด้ํานร่ํางกําย จิตใจ และอื่นๆ อะไรบ้ําง มีข้อห้ํามข้อควรระวังอะไรบ้ําง
เมื่อมํารับบริกํารพืชสวนบําบัด นัก/ครูพืชสวนบําบัดต้องทํากํารประเมินสภําพปัญหําของผู้รับบริกําร อีกครั้งก่อนเริ่มจัดโปรแกรม
ปัจจัยเชิงจิตวิทยา
ปัจจัยเชิงสังคม ปัจจัยเชิงกายภาพ
ปัจจัยเชิงเทคนิค ปัจจัยเชิงความรู้
สิ่งท่ีจะประเมินน้ัน ผู้ปกครองทุกคนเคยทําอยู่แล้ว แต่ไม่เคยแยกว่ําอยู่ในด้ํานไหน เช่น เวลําที่ลูกต่ืนข้ึนมํา เรําจะดูอยู่แล้วว่ําลูกเรําเป็นยังไง อํารมณ์ดีไหม ดูด้ํานร่ํางกําย ด้ํานกํายภําพ เช่น กิจกรรมท่ีเรําให้ทํา ภํายในแต่ละวันนั้นทําได้หรือไม่ มีข้อจํากัดหรือไม่ ลูกเหนื่อยหรือไม่ ไม่สํามํารถทําอะไรได้เต็มที่ นอกจํากนี้ ต้องดูแลปัจจัยทํางสังคม สภําพแวดล้อมท่ีทํางํานของผู้ใช้บริกําร สุดท้ํายดูในเร่ืองของกํารจดจําทําควําม เข้ําใจในเร่ืองต่ํางๆ เช่น กํารนําเสนอกิจกรรมสวนบําบัด อธิบํายข้ันตอน บํางคนเกิดควํามเข้ําใจมํากน้อย แตกต่ํางกันไป ในตัวคนๆ หนึ่งจะต้องมีจุดเด่นและจุดด้อย เรําต้องเก็บข้อมูลทั้ง 2 ส่วนนั้น ถ้ําย่ิงเก็บข้อมูล ได้มํากเท่ําไร ควํามเสี่ยงในกํารทํากิจกรรมก็จะยิ่งน้อยลง
    คู่มือสวนบําบัด 51






















































































   57   58   59   60   61